หน้า: [1]   ลงล่าง
 
ผู้เขียน หัวข้อ: ♠...ความหมายของคำ (ลหุ)  (อ่าน 2591 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
คะแนนน้ำใจ 8013
เหรียญรางวัล:
นักโพสดีเด่นผู้มีความคิดสร้างสรรค์ผู้ดูแลบอร์ดครูกลอนผู้ดูแลเว็บ
กระทู้: 639
ออฟไลน์ ออฟไลน์
ทำทุกวันให้ดีที่สุด
   
« เมื่อ: 05 ตุลาคม 2561, 08:44:39 AM »

Permalink: ♠...ความหมายของคำ (ลหุ)


เพื่อการศึกษาค้นคว้า(สาธารณะ)....
+++++++++++++++++++++++

กานท์ = กลอน
กวิน = ดีงาม
กฏิ = สะเอว
กณิกนันต์ = ละเอียดยิ่ง
กติกา = ตกลง
กปณ,กปณา(กะปะนะ,กะปะนา) = กำพร้า, อนาถา
 กนิษฐ์ = น้อง, น้อยสุด
กรณีย=อันพึงทำ,อันควรทำ
กระสินธุ = สายน้ำ แม่น้ำ 
กวะ= (ราว)กับว่า 
กิระ = คำเล่าลือ 
กฤตยา=เวทย์มนต์ เสน่ห์ 
ข่าม = อยู่ยง ขีน = ขืน (เชิงอรรถ)
ขนิษฐา = น้อง 
เขยิน = ยื่นออกมา
ขนาง = กระดากใจ, ขวยเขิน, อาย, อางขนาง ก็ใช้ เช่นกัน. 
คคน , คคนะ , คคนางค์ , คคนานต์ , คคนัมพร - ท้องฟ้า 
คช - ช้าง 
ควิวคว่าง=หมุนคว้างจนใจหวิว 
จินต- คิด   
ชไม ชรไม = คู่ 
ชรทึง = แม่น้ำ 
ชรริน = ประดับ 
ชรเรือด = แทรก 
ชรโลง ชโลง = พยุง จูง 
ชรอัด = ชัด 
ชรอุ่ม = ชอุ่ม มืดคลุ้ม 
ชระ = สะอาด บริสุทธิ์ 
ชระงม = ป่ากว้าง 
ชล = แห่งน้ำ 
ชลธาร ชลธารก = สายน้ำ ลำน้ำ 
ชลธิศ = ทะเล 
ชลนัยต์ ชลนา ชลเนตร = น้ำตา 
ชลาศัย ชลาลัย ชโลทร = แม่น้ำ ทะเล   
ชุติ (ความรุ่งเรือง,สว่าง)     
ฐิติ = การตั้งอยู่, ดำรงอยู่   
ดนย (ดะนะยะ) = ลูกชาย= ดนัย 
ดนยา = ลูกสาว 
ดนุ,ดนู = ข้าพเจ้า 
ดนุช = ผู้บังเกิดแก่ตน , ลูกชาย 
ดรงค์ = คลื่น ระลอก 
ดรุ = ต้นไม้ 
ดฤถี = ดิถี 
แด =ใจ 
ทวิ =สอง
ทหระ = เด็กหนุ่ม 
ทุรยศ = ทรยศ 
ทุรราช = ทรราช 
นค = ภูเขา 
นมะ,นม = ไหว้ 
นยะ นัย  = ความนัย
นฤ = คน 
นฤนาถ,นฤบาล,นฤเบศ =พระราชา
นฤมล =นาง, ไม่มีมลทิน
นันท =ความสนุก, ยินดี, ร่าเริง 
นิเคราะห์ =ข่ม,ปราม 
นิจ = เที่ยง, ยั่งยืน,เสมอ 
นิธิ =ขุมทรัพย์ 
นิร =ไม่มี
นิรโฆษ =เสียงดัง 
นิรคุณ =ไม่ดี
นิรทุกข์, นิรเทศ (เนรเทศ) นิรมิต 
นิลาวัลย์ =งามยิ่ง, งามเลิศ
วิลาส, พิลาส= งามมีเสน่ห์
 นิศา ,นิศากาล =กลางคืน 
นิศาคม = เวลาโพล้เพล้ 
นิศาชล =น้ำค้าง 
นิศาทิ = เวลาขมุกขมัว 
นิศารัตน์ ,นิศานาถ ,นิศาบดี ,นิศามณี  =พระจันทร์ 
นิษกรม = เฉย   
บุระ =เมือง
บุหรง = นก 
ปฏิพัทธ์ =ผูกพัน, รักใคร่ 
ประจุ =บรรจุ
ปิยะ = อันเป็นที่รัก 
ผจง = ความตั้งใจ 
ผละ =สละ,จากออกไป 
ไผท = แผ่นดิน   
พจี = คำพูด 
พิร =ผู้เพียร,ผู้กล้า 
พิลาลส =อยาก,กระหาย,เศร้าโศก,เสียใจ
พิลึก  พิโลน = สุกใส 
พิไล = งาม 
พิษฐาน = อธิษฐาน 
พิสัย  พิสิฐ = ประเสริฐ 
พิสุทธิ์ - บริสุทธิ์=สะอาด   
พิหค = นก   
ภค = โชคดี ,เกียรติ 
ภณ ( พะนะ) = กล่าว พูด บอก 
ภร (พะระ) = เลี้ยงดู ค้ำจุน 
ภระ - ภาระ  ภระ, ภร =เลี้ยงดู
ภว =ความเกิด, ความมี 
ภิท ( พิ-ทะ) = แตก,ทำลาย 
มติ =ความคิด, ความเห็น 
มธุ =น้ำผึ้ง 
มธุกร, มธุการี ,มธุพรต , มธุมักขิกา, มธุลีห์ =แมลงผึ้ง
มธุปฎร =รวงผึ้ง= 
มธุรส : ไพเราะ 
มธุรส = น้ำผึ้ง 
มธุสร =เสียงหวาน 
มนัส,มนะ,มโน - ใจ 
มยุรา =นกยูง
มร = ความตาย 
มร, มตะ =ความตาย
  มฤคย์ = สิ่งที่ต้องการ 
มฤจฉา , มิจฉา = ผิด 
มฤต = ตายแล้ว 
มฤต = ตายแล้ว 
มฤทุ = อ่อนโยน สุภาพ นุ่ม 
มฤธุ = น้ำผึ้ง   
มฤษา ,มุสา  =โกหก
มล (มะละ) = ความมัวหมอง ( อ่านได้ทั้ง มน มนละ และมะละ )
 มล, มละ (ความมัวหมอง, ไม่บริสุทธิ์) 
มละ =ละทิ้ง
 มสิ =เขม่า, หมึก 
มห, มหะ ,มหิมา =ยิ่งใหญ่,มากนัก
มาน =ใจ, ดวงใจ 
มุฐิ =กำมือ
มุต =รู้แล้ว
มุติ =ความรู้สึก, ความเห็น 
มุทิกา =คนขับเสภา
มุทิตา=ความมีจิตพลอยยินดีในลาภยศสรรเสริญสุขของผู้อื่น 
ยะเยื้อง, ยะยับ =ระยับ 
ยะหิทา =เล็บ
ยุรยาตร =เดิน
ยุว =หนุ่ม   
รชะ = ธุลี ละออง ความกำหนัด 
รดี ,รติ , ฤดี =ความรัก 
รตนะ = แก้ว 
รตะ =ความสุข, ความสนุก,ยินดี, ชอบใจ 
 รบส (ระบด) =เลี้ยง รักษา 
รบาญ - รบ 
รพ (ระพะ) รพา =ต่อสู้ 
รพิ ,รพี, รวิ, รวี =ดวงอาทิตย์ 
รมณี = ผู้หญิง 
รมณีย =บันเทิง 
รยะ =เร็ว,พลัน,ไว,ด่วน 
รว (ระวะ) =เสียงดัง   
ระแคะ =เล่ห์, เงื่อนความ 
ระยะ =ช่วงเวลา, ช่วงสั้นยาว
ระรึง = ผูกแน่น 
รังสิมันตุ์ , รังสิมา = ดวงอาทิตย์ 
ริ =แรกคิด 
รุจ รุจา รุจิ รุจี รุจิระ รุจิรา = งาม แสงสว่าง 
รุจน = ความชอบใจ ความพอใจ   
รุจิเรข = มีลายงาม มีลายสุกใส 
รุชา = ความไม่สบาย 
รุทร = น่ากลัวยิ่งนัก 
รุธิร รุเธียร = เลือด สีแดง 
รุหะ =งอกงาม, เจริญ
ฤชุ = ซื่อ 
ฤดิ =ความยินดี 
ฤตุ = ฤดู 
วจะ ,วทะ, วจิ =คำพูด=
วตะ =,ข้อปฎิบัติ,ความประพฤติ,การจำศีล,การบำเพ็ญทางศาสนา 
วติ =รั้ว 
วธ =ฆ่า
วธุ =หญิงสาว
วปุ = ร่างกาย 
วร =พร, ของขวัญ, เยี่ยม, ประเสริฐ,เลิศ
วรางคณา -=หญิงผู้ประเสริฐ 
วลาหก = เมฆ 
วสนะ = เสื้อผ้า 
วสภ = วัวตัวผู้ 
วสละ =คนชั่ว 
วสลี =หญิงชั่ว   
วสะ =อำนาจ, กำลัง, ความตั้งใจ, ปราถนา
 วสุ =ทรัพย์, สมบัติ 
วสุธา, พสุธา =แผ่นดิน 
วิกจ (วิ-กะ-จะ) = แย้ม บาน 
วิจิ =คลื่น,ลูกคลื่น
วินิบาต =การทำลาย, การฆ่า
วิปการ =ผิดฐานะ
วิมล = ปราศจากมลทิน 
วิร, วีร =กล้าหาญ
วิเรนทร์ = จอมกษัตริย์ 
วิโรจ วิโรจน์ = สว่าง แจ่มใส 
วิโรฒ = งอกงาม 
วิลย วิลัย = ความย่อยยับ 
วิลาป ,พิลาป = ร้องไห้ คร่ำครวญ 
วิลาวัณย์ =งามยิ่ง   
วิษุวัต =จุดราตรีเสมอภาคโลกมีกลางวันและกลางคืนเท่ากัน
วุฐิ =ฝน
ศกุนี =นกตัวเมีย
 ศฐ =คนโกง,คนล่อลวง,คนโอ้อวด 
 ศย =นอน, หลับอยู่
 ศศพินทุ์, ศศลักษณ์ = ดวงจันทร์ 
ศศะ =กระต่าย 
ศศิ =ดวงจันทร์ 
ศศิวิมล =บริสุทธิ์เพียงจันทร์ 
ศิขรี,ศิขรา , ศิขริน =ภูเขา
ศิร =หัว, ยอด 
ศิลป  ศิศุ =เด็กแดงๆ เด็กเล็ก 
ศุกะ =นกแก้ว
ศุนัก,ศุนิ,ศุน =หมา 
ศุภะ, ศุภ , สุ ,สุภะ =ความดี,ความงาม   
สขิ =เพื่อน, สหาย 
สิริ =ศรี
สุข =สบาย
สุขุมาล =ละเอียดอ่อน, อ่อนโยน,นุ่มนวล, ผู้ดีตระกูลสูง
สุจิ =สะอาด,หมดจด,ผ่องใส
สุณิสา =ลูกสะใภ้
สุต, สุตะ =ได้ยิน, ได้ฟังแล้ว
สุร =เทวดา
สุริยา,ยน,เยนทร์,เยศ,โย =พระอาทิตย์
สุวคนธ์ =ดี,งาม
สุวภาพ =สุภาพ
 สุวินัย =สอนง่าย, ว่าง่าย, ดัดง่าย
สุวิมล =กระจ่าง, บริสุทธิ์แท้
สุหฤท =เพื่อน, ผู้มีใจดี
หทย = หัวใจ 
หย =ม้า
หิริ =ความละอายใจ, ละอายบาป
หุต =การบูชาไฟ
เหมาะเจาะ  เหยาะแหยะ  แหวะ, แหะ, แหมะ,แหละ   
อจล (อะจะละ) = ไม่หวาดหวั่น ไม่เคลื่อนคลอน 
อจลา = แผ่นดิน 
อจิระ = ไม่นาน 
อช =แพะ
อชินี =เสือเหลือง
อชิร = สนามรบ 
อฎวี =ดง,ป่า,พง
อนุช : น้อง
อณิ =ลิ่ม 
อณุ, อนุ =เล็กน้อย
 อโณทัย = พระอาทิตย์ยามเช้า 
อดิ, อติ =พิเศษ, ยิ่ง, มาก, เลิศล้น,ผ่าน, ล่วง,พ้นเลยไป
 อดิถี = แขก ผู้มาเยือน 
อดิเรก  อดิศร =ผู้เป็นใหญ่ 
อดิศัย =เลิศ ประเสริฐ   
อติชาตบุตร, อภิชาตบุตร=บุตรผู้มีคุณสมบัติสูงกว่าบิดามารดา
 อติมานะ =ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง
อติสาร = ความเจ็บไข้ ใกล้ตาย 
อธิกรณ์ =เหตุ, โทษ, คดี , เรื่องราว
อธิคม =การบรรลุ, ความสำเร็จ, การได้
อธิมาตร =เหลือคณนา
อน = ไร้ ไม่มี 
อนยะ = ทุกข์เคราะห์ร้าย  อนิยม 
อนุ =ภายหลัง, รุ่นหลัง
อนุชา =น้องชาย
อนุชิต =ชนะเนืองๆ
อนุพัทธ์ =ที่ติดต่อ, ที่เกี่ยวเนื่อง
อนุมาน =คาดคะเน
อนุรูป =สมควร, เหมาะ, พอเพียง
อนุโลม  อนุวัต =ทำตาม, ปฏิบัติตาม, ประพฤติตาม
อนุสร =ระลึก, คำนึงถึง 
อปรา =พ่ายแพ้
อปราธ =ความผิด, โทษ
อปโลกน์ (อุปโลกน์) 
อปวาท =คำติเตียน 
อปหาร =การปล้น, การขโมย, การเอาไป
อภวะ = ความไม่มี ความเสื่อม ความฉิบหาย 
อภิ =ยิ่ง, วิเศษ
อภิยศ, อภิบาล=บำรุงรักษา, ปกครอง
อภิฆาต =การฆ่า
อภินันท์ =ความยินดียิ่ง, ความดีใจยิ่ง
อภินัย =การแสดงละคร, การแสดงท่าทาง
อภิบาล = บำรุงรักษา 
อมนุษย์ =ไม่ใช่คน
อมรา =ผู้ไม่ตาย
อมฤต =น้ำทิพย์
อรณ อะระนะ = ไม่รบ 
อริ =ข้าศึก, ศัตรู
อรุ = บาดแผล
 อวรุทธ์ = ถูกขับไล่ 
อโศก = ไม่เสียใจ, ไม่โศก 
อสิ = ดาบ 
อสิต อะสิตะ = สีดำคล้ำ 
อสุ = ลมหายใจ ชีวิต 
อะนะ = บุตร 
อิณ (อิ-นะ) = หนี้ 
อินทุ = พระจันทร์ 
อิษฐ์ = น่ารัก น่าปรารถนา 
อุจ =สูง
อุชุ = ซื่อสัตย์ 
อุทก = น้ำ แม่น้ำ 
อุบล = ดอกบัว
บันทึกการเข้า

คะแนนน้ำใจ 8013
เหรียญรางวัล:
นักโพสดีเด่นผู้มีความคิดสร้างสรรค์ผู้ดูแลบอร์ดครูกลอนผู้ดูแลเว็บ
กระทู้: 639
ออฟไลน์ ออฟไลน์
ทำทุกวันให้ดีที่สุด
   
« ตอบ #1 เมื่อ: 04 ธันวาคม 2561, 01:08:26 PM »

Permalink: Re: ♠...ความหมายของคำ (ลหุ)
(คำศัพท์)
วร : ประเสริฐ
อนยะ : ทุกข์เคราะห์ร้าย
ฐิติ : การตั้งอยู่, ดำรงอยู่
มุกุละ : ดอกไม้
ดรุ : ต้นไม้
วิโรฒ : งอกงาม
รตะ : ความสุข, ความสนุก,ยินดี, ชอบใจ
ศุภะ, ศุภ , สุ ,สุภะ : ความดี,ความงาม
ผจง : ความตั้งใจ
นมะ : ไหว้
พระจตุรภุช : พระนารายณ์
อุชุ : ซื่อสัตย์
ภณ : กล่าว พูด บอก
สุร : เทวดา
วสุ : ทรัพย์, สมบัติ
ธนัง : ทรัพย์สิน
ภว : ความเกิด, ความมี
สุปรีย์ : เป็นที่รัก
จตุพร : พรทั้งสี่ประการ อายุ วรรณะ สุขะ พละ
คุรุ : ครู
อสุ : ชีวิต,ลมหายใจ
สขิ : เพื่อน,สหาย
อดิ, อติ : พิเศษ, ยิ่ง, มาก, เลิศล้น,ผ่าน, ล่วง,พ้นเลยไป
อภิรติ : ความรื่นรมย์ยินดียิ่ง
อภินันท์ : ความยินดียิ่ง, ความดีใจยิ่ง
ชุติ : ความรุ่งเรือง,สว่าง
ประจุ : บรรจุ
สรณิยะ : ควรระลึกถึง
วิกจ : แย้มบาน
ถิร : มั่นคง,แข็งแรง
นิร : ไม่มี
กวะ : ราวกับว่า
อจิระ : ไม่นาน
อติสาร : ความเจ็บไข้ ใกล้ตาย
ทุคตะ= เข็ญใจ
วรุตมะ=ประเสริฐยิ่ง
นิศา..กลางคืน
รุจิ...สว่าง
คคนานต์..ท้องฟ้า
ชระ...สะอาด,บริสุทธิ์
ประสะ...ผสม
รตะ...ยินดี
นิรมิต...บันดาล
นฤมล...นางงาม
ดนุ..ตน
วจะ...วาจา
ระชะ...ธุลี,ความกำหนัด
อนะ...ไม่มี
กาละ...เวลา
มละ...จากไป.
บันทึกการเข้า

หน้า: [1]   ขึ้นบน
 
 
กระโดดไป: